วันพุธที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2558

บทที่ 4


4.1 ความสัมพันธ์และฟังก์ชั่น
คู่อันดับ (Order Pair) เป็นการจับคู่สิ่งของโดยถือลำดับเป็นสำคัญ เช่น คู่อันดับ a, b จะเขียนแทนด้วย (a, b) เรียก a ว่าเป็นสมาชิกตัวหน้า และเรียก b ว่าเป็นสมาชิกตัวหลัง อ่านต่อ

4.2 ฟังก์ชันเชิงเส้น   

ฟังก์ชันเชิงเส้น    คือ ฟังก์ชันที่อยู่ในรูป y = ax+b เมื่อ a ,b เป็นจำนวนจริงและ a  0  กราฟของฟังก์ชันเชิงเส้นจะเป็นเส้นตรง อ่านต่อ

4.3  ฟังก์ชันกำลังสอง
กราฟของฟังก์ชันกำลังสอง
           ฟังก์ชันกำลังสอง  คือ  ฟังก์ชันที่อยู่ในรูป ax2 + bx + c = 0 เมื่อ  a,b,c  เป็นจำนวนจริงใดๆ  และ a ลักษณะของกราฟของฟังก์ชันนี้ขึ้นอยู่กับค่าของ  a , b  และ  c  และเมื่อค่าของ  a  เป็นบวกหรือลบ  จะทำให้ได้กราฟเป็นเส้นโค้งหงายหรือคว่ำ ... อ่านต่อ

4.4 ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล 
จากบทนิยามของฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล ฟังก์ชันนี้มีรูปแบบในรูปของเลขยกกำลัง โดยฐานของมันต้องมากกว่า 0 และฐานต้องไม่เป็น ตัวอย่างของฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลเช่น อ่านต่อ

4.5 ฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์
ฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์ (Absolute Value Function) คือ ฟังก์ชันที่อยู่ในรูป y = |x - a| + c เมื่อ a, c R …อ่านต่อ
4.6 ฟังก์ชันขั้นบันได
ฟังก์ชันขั้นบันได (Step Function) คือ ฟังก์ชันที่มีโดเมนเป็นสับเซตของ R และมีค่าฟังก์ชันคงตัวเป็นช่วงๆ มากกว่าสองช่วง กราฟของฟังก์ชันจะมีรูปคล้ายบันไดอ่านต่อ

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น